THE โรครากฟันเรื้อรัง DIARIES

The โรครากฟันเรื้อรัง Diaries

The โรครากฟันเรื้อรัง Diaries

Blog Article

ทันตแพทย์จะทำการอธิบายวิธีดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกต้อง เนื่องจากสาเหตุของโรคปริทันต์ คือแผ่นคราบจุลินทรีย์บนผิวฟัน ซึ่งจะเกิดขึ้นใหม่ได้ทุกๆวัน ดังนั้น คนไข้จึงจำเป็นต้องเป็นสามารถทำความสะอาดฟันและซอกฟันอย่างดีและสม่ำเสมอด้วยตนเองต่อไป

รักษารากฟันกับถอนฟัน แบบไหนดีกว่ากัน

ศูนย์ทันตกรรมรากเทียมกรุงเทพ คลินิกเฉพาะทางด้านทันตกรรม

ฟันมีคราบสีขาว สีเหลือง หรือสีน้ำตาลเกาะ

หนองที่ปลายรากฟัน เกิดจากเนื้อเยื่อในฟันอักเสบหรือติดเชื้อเป็นระยะเวลานานโดยไม่ได้รับการรักษาจนลุกลามจากตัวฟันลงสู่รากฟัน ออกสู่เนื้อเยื่อรอบปลายรากฟันจนเกิดการทำลายเนื้อเยื่อและการละลายของกระดูกรอบรากฟัน เกิดเป็นถุงหนองดันเนื้อเยื่อเหงือกทำให้เหงือกบวม เป็นหนอง และมีอาการปวด ในกรณีรุนแรงอาจมีอาการเหงือกบวม ใบหน้าบวม อ่อนเพลีย และมีไข้ร่วม เมื่อเอกซเรย์จะมองเห็นเงาสีดำที่ปลายรากฟันที่แสดงให้เห็นถึงหนองหรือการอักเสบของเนื้อเยื่อในฟัน ซึ่งทันตแพทย์จะทำการรักษาหนองที่คลองรากฟันจนเหงือกหายเป็นปกติ ไม่มีอาการใด ๆ ก่อนแล้วจึงค่อยทำการอุดคลองรากฟัน และทำการบูรณะบริเวณเหงือกและฟันด้านบนต่อไป

เมื่อท่านกด "สมัครสมาชิก" จะเป็นการยื่นยันว่าท่านได้ยอมรับ เงื่อนไขการใช้งานและนโยบายความเป็นส่วนตัว ในการเข้าใช้งานบริการต่าง ๆ ในเว็บไชต์โรงพยาบาลเพชรเวช สมัครสมาชิก

ฟันงุ้มเกิดจากอะไร แก้อย่างไรได้บ้าง ฟันงุ้มเกิดจากอะไร? บทความนี้รวบรวมคำตอบที่คุณกำลังหา พร้อมอธิบายสาเหตุที่พบบ่อยของปัญหาฟันงุ้ม และวิธีการรักษาที่เหมาะสม ไม่ว่าคุณจะเคยจัดฟันมาแล้วหรือยัง

อาการที่อาจเกิดขึ้นได้หลังการเข้ารับการรักษารากฟัน

การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ถือเป็นเรื่องสำคัญ หากเราทำความสะอาดไม่ดี เกิดกลิ่นปาก เกิดฟันผุ ปวดฟัน ประสบอุบัติเหตุ หรือมีฟันแตก แล้วไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ทำให้เกิดการอักเสบ ติดเชื้อไปถึงโพรงรากฟัน และอาจลุกลามไปถึงซี่ฟันที่อยู่ข้างเคียง ส่งผลให้เกิดการปวดบวม ทรมาน และไม่สามารถรักษาด้วยการอุดฟันได้แล้ว ทำให้ต้องเข้ารับการรักษารากฟัน

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

การรักษารากฟัน เป็นการทำความสะอาด ลด และขจัดเชื้อโรคออก โรครากฟันเรื้อรัง ดังนั้น หลังการรักษาฟันที่ผุจึงไม่มีอาการเจ็บปวดใดๆ อีก แต่ฟันอาจมีความเปราะบางและแตกหักได้ง่าย เนื่องจากฟันที่รักษารากมักจะมีการสูญเสียเนื้อฟันไปมากก่อนจะรักษาอยู่แล้ว ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องใส่ครอบฟันหลังจากฟันซี่นั้นได้รับการรักษารากฟันแล้ว

แพทย์วินิจฉัยโรคปริทันต์ได้อย่างไร?

เมื่อผู้รับการรักษาไม่มีอาการรากฟันอักเสบและสามารถเคี้ยวได้ตามปกติ ทันตแพทย์จะทำการอุดคลองรากฟันแล้วส่งผู้เข้ารับการรักษาสู่ขั้นตอนการบูรณะตัวฟันด้านบน เป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการรักษาคลองรากฟัน

เหงือกแดงผิดปกติ ปกติแล้วเหงือกจะเป็นสีชมพูอ่อน แต่หากเกิดการอักเสบเหงือกจะมีสีแดงที่สามารถสังเกตได้อย่างชัดเจน

Report this page